理系でも外国語が学びたい!

元高専生の理系による外国語学習にっき(?)

中間質量ブラックホールを生み出したブラックホールの重力波発見 2020/09/04 タイ語ニュース 翻訳練習 その6

 タイ語学習の一環としてニュースの翻訳練習をしています。間違い等見つけましたらご指摘いただけると幸いです。

ニュースサイトの記事を勝手に訳しているので著作権等何か問題があった場合は速やかに当記事を削除したいと思います。

 

今日訳すのはこちら↓

www.thairath.co.th

 

大学で物理を勉強しているので物理に関するニュースを選んでみました。

訳してたら日付越えちゃったので投稿時刻は9月5日になっていますが、9月4日分としておきます。

 

 

 

มาไกลเหลือเกิน นักวิทย์ตรวจพบคลื่นแรงโน้มถ่วงหลุมดำปะทะกัน 7,000 ล้านปีก่อน 

 遠くから遥か昔の残り物 科学者が70億年前に衝突したブラックホール重力波を調査ののち発見

 

 นักวิทยาศาสตร์ยืนยันการตรวจพบคลื่นแรงโน้มถ่วงสะท้อนมาจากการควบรวมกันของหลุมดำ เมื่อ 7,000 ล้านปีก่อน ซึ่งได้ทำให้เกิด "หลุมดำขนาดกลาง" ที่เพิ่งมีการค้นพบเป็นครั้งแรก

 科学者らは、70億年前のブラックホールの合体から伝播した重力波の発見を確認した。これは最近になって初めて発見された「中間質量ブラックホール」を生み出したものである。

 

 เว็บไซต์ข่าว CNN รายงานเมื่อ 3 ก.ย. 2563 ว่า นักวิทยาศาสตร์ยืนยันการตรวจพบคลื่นความโน้มถ่วงสัญญาณคอสมิกจากห้วงอวกาศ ที่สะท้อนมาถึงโลกเมื่อวันที่ 21 พ.ค.2562 ว่าเกิดจากการโคจรเข้าใกล้กัน จนเกิดการชน และการควบรวมกันของหลุมดำ 2 แห่ง โดยเรียกเหตุการณ์นี้ว่า "GW190521" ซึ่งเกิดขึ้นห่างจากโลกไปประมาณ 150,000 ล้านล้านล้านกิโลเมตร (150 billion trillion km.) และคลื่นความโน้มถ่วงต้องใช้เวลาถึง 7,000 ล้านปีในการแผ่ขยายมาถึงโลก

 ニュースサイトのCNNは2020年9月3日、科学者らが宇宙空間から宇宙の信号である重力波を発見したと報じた。2019年5月21日に地球へ伝播したものは、2つのブラックホールが軌道に乗って回転し近づき合い、衝突を起こし合体したものから生じたものであると言われている。これは「GW190521」と呼ばれ、地球から約1,500垓キロメートル(1,500億×1兆キロメートル)離れているところから生じたものである。重力波が周囲に広がり地球に到達するまで、70億年もの時間を要する。

 

 ทีมนักวิทยาศาสตร์ประจำอุปกรณ์สังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงไลโก (LIGO) ในสหรัฐฯ และเวียร์โก (VIRGO) ในอิตาลี เปิดเผยว่า นับเป็นการค้นพบว่ามี "หลุมดำขนาดกลาง" (intermediate-mass black hole) เป็นครั้งแรก โดยหลุมดำแรกมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 66 เท่า ส่วนหลุมดำที่ 2 มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 85 เท่า การควบรวมกันของหลุมดำครั้งนี้ทำให้เกิดหลุมดำที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 142 เท่า

 重力波観測専用装置LIGOアメリカ)とVIRGO(イタリア)の科学者チームは、「中間質量ブラックホール(intermediate-mass black hole)」の存在を初めて発見したと公表した。なお、(合体するうちの)1つめのブラックホールは太陽の66倍、2つめのブラックホールは太陽の85倍の質量を持っており、今回のブラックホールの合体は太陽の142倍の質量を持つブラックホールを生み出した。

 

 การค้นพบครั้งประวัติศาสตร์นี้ ซึ่งประกอบด้วยการค้นพบคลื่นแรงโน้มถ่วง ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร "Physical Review Letters" ฉบับวันที่ 1 ก.ย. 2563 และรายละเอียดเหตุการณ์ "GW190521" ถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร "Astrophysical Journal Letters"

 重力波の発見を含む今回の歴史的発見は2020年9月1日版の「Physical Review Letters」に掲載され、「GW190521」の詳細は「Astrophysical Journal Letters」誌に掲載されている。

 

 ศาสตราจารย์คริสโตเฟอร์ แบร์รี่ แห่งหอสังเกตการณ์ไลโก เปิดเผยว่า หนึ่งในปริศนาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของวงการดาราศาสตร์คือคำถามที่ว่า หลุมดำมวลยิ่งยวดก่อกำเนิดขึ้นมาได้อย่างไร โดยการยุบตัวของดาวฤกษ์ทำให้เกิด "หลุมดำมวลดาวฤกษ์" (stellar-mass black hole) ขนาด 1.5-20 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ แต่ "หลุมดำมวลยิ่งยวด" (supermassive black holes) ที่มีขนาดหลายพันเท่าของดวงอาทิตย์ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร และที่ผ่านมานักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่ามี "หลุมดำมวลขนาดกลาง" (intermediate-mass black hole) ที่มีขนาดอยู่ระหว่าง หลุมดำมวลดาวฤกษ์ และหลุมดำยิ่งยวดมาตลอด แต่ยังไม่เคยมีการยืนยันได้มาก่อน.

 LIGO観測所のクリストファー・ベリー教授は、天文学の分野における最も大きな謎の一つは超大質量ブラックホールはどのようにして生み出されるのかという問いであると述べた。つまり、恒星の縮小は、太陽の質量の1.5-20倍ほどの「恒星ブラックホール(stellar-mass black hole)」を生み出すが、太陽の数千倍ほどの「超大質量ブラックホール(supermassive black holes」はどのようにして誕生するのかということである。また、これまでに科学者は、恒星ブラックホール超大質量ブラックホールの間には「中間質量ブラックホール(intermediate-mass black hole)」が存在すると考えていたが、これまでに発見したことはなかった。

 

 

[知らない単語]
รงโน้มถ่วง 重力
หลุมดำ ブラックホール
ปะทะ 交戦する、衝突する
การควบรวม 合体
สะท้อน (光が)反射する、(音が)反響する
การค้นพบ 発見
คอสมิก cosmic、宇宙の(?)
ห้วง น. ช่วง, ระยะ, ตอน.
โคจร 旋回する、軌道に乗って回る
ห่าง 離れている、距離がある
แผ่ขยาย 広がる、拡大する
ทีม チーム
สังเกต 観察、観測する
นับเป็น~ ~と見なす
มวล 質量
ครั้งประวัติศาสตร์ 歴史的な(?)
วารสาร 機関紙、社内新聞
ศาสตราจารย์ 教授
ปริศนา 謎、puzzle
ยิ่งใหญ่ 偉大な
วงการ 業界
ดาราศาสตร์ 天文学
ยวด 極度の、最もすごい、extremely
หลุมดำมวลยิ่งยวด 超大質量ブラックホール
ก่อกำเนิด 引き起こす、誘発させる
ยุบตัว (星雲が)縮小する
ดาวฤกษ์ 恒星
ที่ผ่านมา これまでに、今までは

 

[疑問点]
・初っ端の「มาไกลเหลือเกิน」の訳し方は良いか。ニュースの見出しなのでこのように省略されたような表現になっているのか。
・ห้วงをタイ人向けタイ語辞書で調べると「ช่วง, ระยะ, ตอน」と出てきたが、空間の意で使ってもよいのか。「領域、区間、時間の幅」などと訳して良いか否か。
・「ครั้งประวัติศาสตร์」は「歴史的な」という訳で合っているのか。

 

[感想]

知らない単語いっぱい!日本語に訳してもそもそも知らなかった..... 大質量ブラックホールとか恒星質量ブラックホールとかとか。ここらへんの知らない専門用語はWikipediaタイ語ver.と日本語ver.(と英語ver.も)の両方をチラチラ見比べながら訳出しました。物理勉強しているとはいえ、宇宙については何も知らないなあ....... 科学系の記事は専門用語の外国語を知れて楽しいですね。